วันอาทิตย์, กันยายน 30, 2555

ฐานข้อมูล

           ฐานข้อมูลประกอบด้วยกลุ่มการจัดการข้อมูลสำหรับผู้ใช้หนึ่งคนหรือหลายๆ คน โดยทั่วไปมักอยู่ในรูปแบบดิจิทัล วิธีการแบ่งชนิดของฐานข้อมูลได้รูปแบบหนึ่งคือแบ่งตามชนิดของเนื้อหา เช่น บรรณานุกรม, เอกสารตัวอักษร, สถิติ โดยฐานข้อมูลดิจิทัลจะถูกจัดการโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลซึ่งเก็บเนื้อหาฐานข้อมูล โดยอนุญาตให้สร้าง, ดูแลรักษา, ค้นหา และการเข้าถึงในรูปแบบอื่นๆ
ระบบจัดการฐานข้อมูล
           ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล, จัดเตรียมพื้นที่ในการเก็บ, การเข้าถึง, ระบบรักษาความปลอดภัย, สำรองข้อมูล และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถแบ่งหมวดหมู่ได้ตามแบบจำลองฐานข้อมูลที่สนับสนุน อาทิเช่น เชิงสัมพันธ์ หรือ XML เป็นต้น แบ่งตามประเภทของคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน อาทิเช่น server cluster หรือ โทรศัพท์พกพา เป็นต้น แบ่งตามประภทของภาษาสอบถามที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูล อาทิเช่น ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือ XQuery แบ่งตามประสิทธิภาพในการ trade-offs อาทิเช่น ขนาดที่ใหญ่ที่สุด หรือ ความเร็วสูงสุด หรือ อื่นๆ เป็นต้น ในบาง DBMS จะครอบคลุมมากกว่าหนึ่งหมวดหมู่ เช่น สนับสนุนภาษาสอบถามได้หลายๆ ภาษา ยกตัวอย่างเช่น ใน DBMS ที่นิยมใช้การอย่างแพร่หลาย MySQL, PostgreSQL, Microsoft Access, SQL Server, FileMaker,Oracle,Sybase, dBASE, Clipper,FoxPro อื่นๆ ในทุกๆ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลจะมี Open Database Connectivity (ODBC) driver มาให้ด้วย เพื่ออนุญาตให้ฐานข้อมูลสามารถทำงานร่วมกับฐานข้อมูลแบบอื่นๆ ได้

การออกแบบฐานข้อมูล

            การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสำคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท
1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many)
2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภท
3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล (Relation data model) เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ

การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
              การออกแบบฐานข้อมูลในองค์กรขนาดเล็กเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานอาจเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากนัก เนื่องจากระบบและขั้นตอนการทำงานภายในองค์กรไม่ซับซ้อน ปริมาณข้อมูลที่มีก็ไม่มาก และจำนวนผู้ใช้งานฐานข้อมูลก็มีเพียงไม่กี่คน หากทว่าในองค์กรขนาดใหญ่ ซึ่งมีระบบและขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน รวมทั้งมีปริมาณข้อมูลและผู้ใช้งานจำนวนมาก การออกแบบฐานข้อมูลจะเป็นเรื่องที่มีความละเอียดซับซ้อน และต้องใช้เวลาในการดำเนินการนานพอควรทีเดียว ทั้งนี้ ฐานข้อมูลที่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานภายในหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ ซึ่งจะทำให้การดำเนินงานขององค์กรมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เป็นผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลภายในองค์กรทั้งนี้ การออกแบบฐานข้อมูลที่นำซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูลมาช่วยในการดำเนินการ สามารถจำแนกหลักในการดำเนินการได้ 6 ขั้นตอน คือ
            1.การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ข้อมูล
            2.การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล
            3.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด
            4.การนำฐานข้อมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดเข้าสู่ระบบจัดการฐานข้อมูล
            5.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
            6.การนำฐานข้อมูลไปใช้และการประเมินผล

การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ หรือในระดับแนวความคิด เป็นขั้นตอนการออกแบบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบโดยใช้แบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ซึ่งอธิบายโดยใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (E-R Diagram) จากแผนภาพ E-R Diagram นำมาสร้างเป็นตารางข้อมูล (Mapping E-R Diagram to Relation) และใช้ทฤษฏีการ Normalization เพื่อเป็นการรับประกันว่าข้อมูลมีความซ้ำซ้อนกันน้อยที่สุด ซึ่งการออกแบบเชิงตรรกะนี้จะบอกถึงรายละเอียดของ Relation , Attribute และ Entity

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ PDF พิมพ์ อีเมล
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

ในศตวรรษนี้ บรรดาผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ จะมี facebook profiles เป็นของตัวเอง แต่ละคนก็เอาไว้ใช้สาระ หรือ ไม่สาระ แตกต่างกันไป  แต่หลาย ๆ ท่านที่เข้าร่วมสังคมออนไลน์บน Facebook น้อยคนนักที่จะทราบว่า ใน Facebook ยังมี Fan page หรือ Facebook page อยู่ด้วย

fan page คืออะไร
Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง
ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย
โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก

หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ
เขียนโดย man@dmin   

สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ?
ถ้าเข้าใจแล้วว่าเราจะสร้าง fan page
ไปทำไมกันเรียบร้อยแล้ว  ก็มาลงมือทำกันเลยครับ

1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน
facebook_pages_001

2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ?
ถ้าเข้าใจแล้วว่าเราจะสร้าง fan page
ไปทำไมกันเรียบร้อยแล้ว  ก็มาลงมือทำกันเลยครับ

1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน
facebook_pages_001

2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ?
ถ้าเข้าใจแล้วว่าเราจะสร้าง fan page
ไปทำไมกันเรียบร้อยแล้ว  ก็มาลงมือทำกันเลยครับ

1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน
facebook_pages_001

2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ?
ถ้าเข้าใจแล้วว่าเราจะสร้าง fan page
ไปทำไมกันเรียบร้อยแล้ว  ก็มาลงมือทำกันเลยครับ

1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน
facebook_pages_001

2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

ในศตวรรษนี้ บรรดาผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ จะมี facebook profiles เป็นของตัวเอง แต่ละคนก็เอาไว้ใช้สาระ หรือ ไม่สาระ แตกต่างกันไป  แต่หลาย ๆ ท่านที่เข้าร่วมสังคมออนไลน์บน Facebook น้อยคนนักที่จะทราบว่า ใน Facebook ยังมี Fan page หรือ Facebook page อยู่ด้วย

fan page คืออะไร
Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง
ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย
โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก

หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

ในศตวรรษนี้ บรรดาผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ จะมี facebook profiles เป็นของตัวเอง แต่ละคนก็เอาไว้ใช้สาระ หรือ ไม่สาระ แตกต่างกันไป  แต่หลาย ๆ ท่านที่เข้าร่วมสังคมออนไลน์บน Facebook น้อยคนนักที่จะทราบว่า ใน Facebook ยังมี Fan page หรือ Facebook page อยู่ด้วย

fan page คืออะไร
Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง
ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย
โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก

หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   

ในศตวรรษนี้ บรรดาผู้ที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่ จะมี facebook profiles เป็นของตัวเอง แต่ละคนก็เอาไว้ใช้สาระ หรือ ไม่สาระ แตกต่างกันไป  แต่หลาย ๆ ท่านที่เข้าร่วมสังคมออนไลน์บน Facebook น้อยคนนักที่จะทราบว่า ใน Facebook ยังมี Fan page หรือ Facebook page อยู่ด้วย

fan page คืออะไร
Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง
ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย
โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก

หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือ อะไร ? PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย man@dmin   
วันเสาร์ที่ 02 พฤษภาคม 2009 เวลา 02:22 น.
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

หมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์

เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์

เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้


1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่ในการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ

2. หน่วยความจำ
(Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป


3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคำนวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit)


4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storge) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายในเครื่องก่อนทำการประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง


5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น


ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น
การทำงานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์   ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ   ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจำหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์สำเร็จ
1.  ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง
เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสำหรับนำไปใช้งานเฉพาะด้านหรือในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความต้องการของผู้ใช้ โดยที่ผู้เขียน คือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และต้องศึกษาทำความเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้ในท้องตลาดทั่วไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทั่วไป
โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้าและระบบหลักของงาน ภายในซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทำงานประมวลคำเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกำหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่มีผู้ใช้งานคนเดียวหรือผู้ใช้งานได้พร้อมกันหลายคน
ในประเทศไทย มีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตต่างประเทศได้ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่นี้ได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดังนี้
1)  ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี
ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน

2)  ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจำหน่าย
ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลัง และระบบงานประวัติการขาย

3)  ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม
ได้แก่ ระบบงานกำหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกำลังการผลิต การคำนวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความต้องการวัสดุ การควบคุมการทำงานภายในโรงงาน การกำหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้า และการกำหนดขั้นตอนการผลิต

4)  ซอฟต์แวร์อื่น ๆ
ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ และการเช่าซื้อรถยนต์

 
 

2.  ซอฟต์แวร์สำเร็จ

เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้นและวางขายทั่วไป  ผู้ใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสำหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้องเป็นผู้นำไปประยุกต์กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป
ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไป ซึ่งนิยมเรียกว่า ซอฟต์แวร์สำเร็จ แบ่งออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งาน คือ
1)   ด้านการประมวลคำ
2)   ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลหรือตารางทำงาน
3)   ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล
4)   ด้านกราฟิกและนำเสนอข้อมูล
5)   ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล
6)   ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ
7)   ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน
8)   ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
9)   ด้านการจำลอง เกม และการตัดสินใจ

ส่วนประกอบพื้นฐานของหน่วยระบบ


แผงวงจรหลัก  (System  Board)  หรือที่รู้จักกันในชื่อ  เมนบอร์ด  (Mainboard)  หรือ  มาเธอร์บอร์ด  (Mother board)  ส่วนประกอบทั้งหมดของหน่วยระบบจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับแผงวงจรหลักนี้  โดยเป็นเสมือนเส้นทางเดินของข้อมูลที่ทำให้ส่วนประกอบต่าง ๆ สามารถติดต่อกันได้  อุปกรณ์ภายนอกต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด  เมาส์  และจอภาพ  จะไม่สามารถติดต่อกับหน่วยระบบได้ถ้าปราศจากแผงวงจรหลัก
แผงวงจรหลักนี้ของเดสก์ท็อปคอมพิวเตอร์มีลักษณะแบนใหญ่  ประกอบด้วยส่วนประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ รวมถึง ซ็อกเก็ต  สล็อต  และเส้นทางบัส
  ซ็อกเก็ต  (Socket)  เป็นส่วนที่ใช้ยึดติดชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า  ชิป (Chip)  เข้ากับแผงวงจรหลัก

 สล็อต  (Slot)  เป็นจุดเชื่อมต่อสำหรับการ์ดหรือแผงวงจรไฟฟ้า  การ์ดเหล่านี้ช่วยขยายความสามารถของระบบคอมพิวเตอร์  ตัวอย่างเช่น  การ์ดโมเด็ม  จะเสียบเข้ากับสล็อตบนแผงวงจรหลักเพื่อทำให้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
  เส้นทางบัส  (Bus Line)  เป็นเส้นทางเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ภายในหรือติดอยู่กับแผงวงจรหลัก

หน่วยความจำคอมพิวเตอร์

  1. หน่วยความจำ
  • เป็นพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล คำสั่ง และสารสนเทศต่าง
  • หน่วยความจำประกอบด้วยชิปที่เชื่อมต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก
  • หน่วยความจำชนิดต่างๆ
    1. แรม (RAM )
    2. รอม (ROM)
    3. ซีมอส (CMOS)
  • แรม
    1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นชิปที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลและโปรแกรมระหว่างประมวลผล
    2. หน่วยความจำแคช หรือแรมแคช
    3. แฟลชแรม หรือ หน่วยความจำแฟลช
  • หน่วยความจำแรมชนิดต่างๆ
    1. DRAM
    2. SDRAM
    3. DDR
    4. Direct RDRAM
  • รอม
    1. รอม (Read-only memory : ROM)
    2. เป็นหน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
    3. ผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่าง ๆ ภายในได้
  • ซีพียูสามารถอ่านหรือนำข้อมูลและโปรแกรม
    ที่ถูกเขียนไว้ในหน่วยความจำรอมมาใช้งานได้ 
  • ไม่สามารถเขียนหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลและคำสั่งต่างๆ ที่อยู่ในรอมได้
  • คำสั่งต่างๆ ที่อยู่ในรอมเรียกว่า เฟิร์มแวร์ (firmware)
  • คอมพิวเตอร์ใช้เมื่อเริ่มต้นการทำงาน
  • ซีมอส
    1. ซีมอส (Complementary metal-oxides semiconductor : CMOS)
  • เป็นหน่วยความจำที่สามารถปรับเปลี่ยนค่าต่างๆ ที่ใช้สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ได้
  • ประกอบด้วยข้อมูลสำคัญที่ระบบคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องใช้งานทุกครั้งเมื่อเปิดเครื่อง เช่น
    1. ข้อมูลเกี่ยวกับ วันที่และเวลาปัจจุบัน
    2. ขนาดของหน่วยความจำแรม
    3. ชนิดของคีย์บอร์ด  เมาส์  และจอภาพ
  • ข้อมูลภายในสามารถเปลี่ยนแปลงตามอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์
  • การใช้งานโปรแกรม Microsoft office Word 2007เบื้องต้น


    การใช้งานโปรแกรม Microsoft office Word 2007เบื้องต้น ลองเข้าไปศึกษากันดูน่ะค่ะ !!

    มารยาททั่วไปในการใช้อินเตอร์เน็ต

    มารยาททั่วไปในการใช้อินเตอร์เน็ต
    • ไม่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อล่วงละเมิดหรือรบกวน ผู้อื่น
    • ไม่ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการใด ๆ ที่ขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรม
    • ไม่นำข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ในทางที่ผิด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้น ๆ
    • ไม่บอกรหัสกับผู้อื่นแม้แต่เพื่อนสนิท
    • ไม่ใช้บัญชีชื่อผู้ใช้ของผู้อื่น หรือใช้เครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
    • ไม่ยืมหรือใช้โปรแกรม รูปภาพ หรือข้อมูลของผู้อื่นบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้ร้บอนุญาตจากเจ้าของ
    • ไม่ฝ่าฝืนข้อห้ามของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
    • ไม่เจาะเข้าระบบของผู้อื่นหรือท้าลองให้ผู้อื่นเจาะระบบของตัวเอง
    • หากพบมีการรั่วไหลในระบบ หรือบุคคลน่าสงสัยให้รีบแจ้งผู้ให้บริการในทันที
    • หากต้องยกเลิกการใช้อินเตอร์เน็ตให้ลบข้อมูลทั้งหมดและแจ้งผู้ดูแลเว็บไซต์
    • การทิ้งบัญชีชื่อผู้ใช้งานไว้บนอินเตอร์เน็ตอาจทำให้มีผู้ไม่หวังดีเจาะเข้ามาในระบบได้

    ทำความรู้จัก Microsoft Word 2007

    ทำความรู้จัก Microsoft Word 2007

    โปรแกรมสำหรับพิมพ์งานเอกสารที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดในโลกตัวหนึ่ง จากบริษัท Microsoft ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตโปรแกรมต่างๆ มากมาย อาจสืบเนื่องมาจากความนิยมในการใช้งานโปรแกรม Windows ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เราใช้งานกันในทุกๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ (เกือบทั้งโลก) ดังนั้นจึงทำให้ Microsoft Word เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมที่เราใช้งานกันอยู่เป็นมาตราฐานเช่นเดียวกัน

    Microsoft Word เป็นหนึ่งโปรแกรมของโปรแกรม Suite (รวมมิตร) ซึ่งประกอบด้วยโปรแกรมหลักๆ คือ




    • Microsoft Word - งานเอกสาร
    • Microsoft Excel - งานตาราง คำนวณ
    • Microsoft PowerPoint - งานนำเสนอข้อมูล
    • Microsoft Access - งานระบบฐานข้อมูล
    การทำงานของทุกๆ โปรแกรมในตระกูล Microsoft Office สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างง่ายดาย ทำให้เรานิยมซื้อและใช้งานโปรแกรมทั้งหมดในตระกูล Microsoft Office

    หน้าตาใหม่ของ Microsoft Word 2007



    เดิมการพัฒนาของ Microsoft ที่เกี่ยวเนื่องกับ Microsoft Office จะไม่มีความแตกต่างมากนัก โดยมักเน้นพัฒนาในเรื่องของความสามารถ (Features) ของโปรแกรมให้มากขึ้น ใช้งานสะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้งานเป็นหลัก แต่ต่อมา นับตั้งแต่ Microsoft Office 2007 พัฒนาขึ้นมา และเริ่มใช้งาน จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ โดยเฉพาะหน้าตาและไอคอนต่างๆ ที่เราใช้งานกัน เปลี่ยนหมด !

    เรื่องน่ารู้ของ Microsoft Office 2007

    1. เมนูและไอคอน หาย เปลี่ยนเป็น Ribbon แทน
    2. ไฟล์ที่บันทึก (Save) เดิมมีนามสกุล .DOC ของใหม่เปลี่ยนเป็น .DOCX
    3. การปรับแต่งโปรแกรมจากเมนู Options ถูกย้ายมาสู่ Office Button แล้ว ให้คลิกเลือก จะอยู่มุมขวาล่าง "Word Options"
    4. เราสามารถปรับเปลี่ยนการบันทึกไฟล์จาก .DOCX เป็น .DOC ได้ เพื่อแก้ปัญหาคนอื่น ไม่สามารถเปิดดูได้โดยการเข้าไปที่ "Word Options" เลือกหัวข้อ "Save" จากนั้น ให้เลือก "Save files in this format" ให้เลือกเป็น "Word 97-2003 Document"
    5. ถ้าต้องการบันทึก ให้คลิกไอคอนวงกลมด้านบนซ้ายสุด (Office Button) จะมีเมนูให้เลือก Save
    ?

    10 วิธี ดูแลบุตรหลานที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต

    10 วิธี ดูแลบุตรหลานที่ใช้งานอินเทอร์เน็ต
    • พ่อแม่ควรเรียนรู้เรื่องอินเทอร์เน็ตบ้าง
    • ใช้เวลาท่องอินเทอร์เน็ตกับลูกให้มากที่สุด หรืออย่างน้อยต้องพูดคุยกัน
    • ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ในห้องรวมของครอบครัว
    • ท่านต้องเป็นตัวอย่างที่ดีในการใช้งานอินเทอร์เน็ตก่อนที่จะสอนลูก
    • สอนลูกให้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานแต่ละอย่าง เช่น อีเมล์ แช็ต กลุ่มข่าว เว็บ การสำเนาข้อมูล รวมถึงกฎกติกามารยาทออนไลน์
    • ส่งเสริมให้ลูกใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสนุก ปลอดภัย และได้ประโยชน์
    • หมั่นสังเกตพฤติกรรมของลูก ดูว่าเขาทำตัวแปลกไปกว่าที่เคยหรือไม่ 
    • พูดคุยกับลูกให้เข้าใจแต่แรก ถึงขอบเขตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
    • ผู้ปกครองอาจติดตั้งโปรแกรมบล็อกเว็บไซต์ได้
    • หากท่านพบอะไรที่เหลือบ่ากว่าแรง อย่ารีรอที่จะขอความช่วยเหลือ

    การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

    การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์            เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการดังนี้
              1.  เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น
              2.  เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
              3.  เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น
              4.  เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น  
    องค์ประกอบของการสื่อสาร
              1.  ผู้ส่งข้อมูล (Sender) ทำหน้าที่ส่งข้อมูล
              2.  ผู้รับข้อมูล (Receiver) ทำหน้าที่รับข้อมูล
              3.  ข้อมูล (Data) ข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล อาจอยู่ในรูปของข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
              4.  สื่อนำข้อมูล (Medium) ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่ายข้อมูล เช่น สายเคเบิล ใยแก้วนำแสง อากาศ
              5.  โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสารที่ตกลง กันระหว่าง ผู้ส่งข้อมูล กับ ผู้รับข้อมูล 
    การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร           การสื่อสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน ได้ตะหนักถึง ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ซึ้งการประยุกต์เทคโนโลยีการสื่อสารในองค์การมีดังนี้ 
    ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail)           การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการสื่อสารนี้บุคคลที่ทำการสื่อสารจะต้องมีชื่อและที่อยู่ในรูปแบบอีเมล์แอดเดรส  
    โทรสาร (Facsimile หรือ Fax)           เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความที่เขียนขึ้นด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ที่เรียกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเครื่องรับโทรสาร การส่งข้อความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและมีประสิทธิภาพสูงกว่าการส่งข้อมูลผ่านเครื่องโทรสารธรรมดา 
    วอยซ์เมล (Voice Mail)               
              เป็นการส่งข้อความเป็นเสียงพูดให้กลายเป็นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บันทึกเสียงที่เรียกว่าวอยซ์เมล์บ็อกซ์ เมื่อผู้รับเปิดฟังข้อความดังกล่าวก็จะถูกแปลงกลับไปอยู่ในรูปแบบของเสียงพูดตามเดิม 
    การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing)               
              เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สำหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง โดยที่ภาพและเสียงที่ส่งไปนั้นอาจเป็นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียงประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประชุม 
    การระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs)               
              เป็นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตำแหน่งของคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เป็นเป้าหมายของระบบ การวิเคราะห์ตำแหน่งทำได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตำแหน่ง ปัจจุบันมีการนำไปใช้ในระบบการเดินเรือ เครื่องบินและเริมพัฒนามาใช้เพื่อระบุตำแหน่งของรถยนต์ด้วย 
    กรุ๊ปแวร์(groupware)               
               เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทำงานร่วมกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครือข่าย 
    การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT)               
              ปัจจุบันผู้ใช้สามารถชำระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริการโอนเงินอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กันเป็นประจำ ได้แก่ การโอนเงินผ่านทางตู้ ATM 
    การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI)               
              เป็นระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสั่งสินค้า ใบส่งของ ใบเรียกเก็บเงิน                 
     การระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ(RFID)           เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ ปัจจุบันมีการนำ RFID ไปประยุกต์ใช้งานหลากหลายประเภท เช่น ห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์มเลี้ยงสุกร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้าใต้ดิน ระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์