วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ |
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร |
เขียนโดย man@dmin |
fan page คืออะไร Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ |
เขียนโดย man@dmin | |
สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ? 1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน 2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ |
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ |
เขียนโดย man@dmin | |
สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ? 1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน 2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ |
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ |
เขียนโดย man@dmin | |
สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ? 1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน 2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ |
วิธีสร้าง Fan Page หรือ facebook page บน Facebook แบบง่าย ๆ |
เขียนโดย man@dmin | |
สำหรับท่านที่ยังไม่ทราบที่ไปที่มาว่าเราจะสร้าง Fanpage ไปเพื่ออะไร ? 1. ไปที่ http://www.facebook.com/pages/create.php เพื่อเริ่มทำตามขั้นตอน 2. เลือกกลุ่ม และ หมวดหมู่ Fanpages ที่เราต้องการนำเสนอ มีทั้งหมดอยู่ 6 กลุ่ม ดังนี้ครับ |
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร |
เขียนโดย man@dmin |
fan page คืออะไร Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ |
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร |
เขียนโดย man@dmin |
fan page คืออะไร Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ |
Fan Page หรือ Facebook page คืออะไร |
เขียนโดย man@dmin |
fan page คืออะไร Fan page หรือ Facebook page เป็นหน้าที่คุณสามารถสร้างเนื้อหาเกี่ยวกับสินค้า ธุรกิจ หรือองค์กรของคุณแล้วข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูลสาธารณะ ที่คุณจะสามารถแลกเปลี่ยน นำเสนอให้ผู้ใช้ fb คนอื่นได้รับรู้ได้โดยตรง ลักษณะของ fan page (facebook page) จะแตกต่างจาก facebook ที่เราใช้อยู่ซึ่งเรียกว่า facebook profiles โดย facebook page จะมีลักษณะคล้ายๆ Group แต่เป็นหน้าเว็บเพจคล้ายๆ กับ facebook profile ส่วนใหญ่ facebook page จะถูกนำมาใช้ในการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน บริษัทหรือสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ใช้ที่จะเข้าติดตาม facebook page ใดๆ นั้นก็จะเข้าเป็น fan (become a fan) กับ page นั้นๆ และผู้สร้าง page นั้นๆ สามารถจะแจ้งข่าวหรือนำ Application ต่างๆ มาใช้กับ page และผู้ใช้ทั่วไปที่เป็น fan กับ page นั้นๆ ก็สามารถมีส่วนร่วมได้เช่นกัน และในส่วนของ fan นี้ อาจนำมาใช้วัดความนิยมของแบรนด์สินค้าหรือวัดชื่อเสียงหน่วยงานได้อีกด้วย โดยปกติแล้ว facebook profile จะไม่ถูก index ใน Google แต่ facebook page จะถูก index เพราะฉะนั้น facebook page จึงเป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือองค์กรที่มีประสิทธิภาพมาก หน้าตา fan page จะเป็นแบบนี้ครับ |
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)คือ อะไร ? |
เขียนโดย man@dmin |
วันเสาร์ที่ 02 พฤษภาคม 2009 เวลา 02:22 น. |
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สำคัญ ดังนี้ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่ในการรับโปรแกรม และข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้า ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆ เช่น เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ฯลฯ 2. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งให้หน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป 3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit) ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ปรากฏอยู่ในโปรแกรม หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย ได้แก่ หน่วยคำนวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือArithmetic and Logical Unit) และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit) 4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storge) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำหลักภายในเครื่องก่อนทำการประมวลผลโดย ซีพียู รวมทั้งเป็นแหล่งเก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วย เพื่อการใช้งานในภายหลัง
5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพท์จากการประมวลผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
|
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น
การทำงานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจำหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์สำเร็จ
1. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง
เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสำหรับนำไปใช้งานเฉพาะด้านหรือในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความต้องการของผู้ใช้ โดยที่ผู้เขียน คือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และต้องศึกษาทำความเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น โปรแกรมช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้ในท้องตลาดทั่วไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทั่วไป
โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้าและระบบหลักของงาน ภายในซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทำงานประมวลคำเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกำหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่มีผู้ใช้งานคนเดียวหรือผู้ใช้งานได้พร้อมกันหลายคน
ในประเทศไทย มีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตต่างประเทศได้ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่นี้ได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดังนี้
1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี
ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน
2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจำหน่าย
ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลัง และระบบงานประวัติการขาย
3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม
ได้แก่ ระบบงานกำหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกำลังการผลิต การคำนวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความต้องการวัสดุ การควบคุมการทำงานภายในโรงงาน การกำหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้า และการกำหนดขั้นตอนการผลิต
4) ซอฟต์แวร์อื่น ๆ
ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ และการเช่าซื้อรถยนต์
2. ซอฟต์แวร์สำเร็จ
เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้นและวางขายทั่วไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสำหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้องเป็นผู้นำไปประยุกต์กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป
ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไป ซึ่งนิยมเรียกว่า ซอฟต์แวร์สำเร็จ แบ่งออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งาน คือ
1) ด้านการประมวลคำ
2) ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลหรือตารางทำงาน
3) ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล
4) ด้านกราฟิกและนำเสนอข้อมูล
5) ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล
6) ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ
7) ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน
8) ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
9) ด้านการจำลอง เกม และการตัดสินใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น